โครงสร้างหลักสูตร

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  จำนวนไม่น้อยกว่า 33 
 หน่วยกิต ดังนี้
กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร 12 หน่วยกิต
 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 6 หน่วยกิต
 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 6 หน่วยกิต
 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ 9 หน่วยกิต
 หมวดวิชาเฉพาะด้าน จำนวนไม่น้อยกว่า 129 หน่วยกิต ดังนี้
 1) กลุ่มวิชาชีพครู  51 หน่วยกิต ดังนี้
     กลุ่มวิชาชีพครูบังคับ 31 หน่วยกิต
     กลุ่มวิชาชีพครูเลือก 4 หน่วยกิต
     กลุ่มวิชาปฏิบัติและฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 16 หน่วยกิต ดังนี้
 2) กลุ่มวิชาเอก 78 หน่วยกิต
      กลุ่มวิชาเอกบังคับ 68 หน่วยกิต
      กลุ่มวิชาการสอนวิชาเอก 6 หน่วยกิต
      กลุ่มวิชาเอกเลือก 4 หน่วยกิต
 หมวดวิชาเลือกเสรี  จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
 รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 168 หน่วยกิต

รายวิชาในหมวดต่างๆ

1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (จำนวนไม่น้อยกว่า 33 หน่วยกิต)

1.1 กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร
กำหนดให้เรียน 12 หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้)
 12 หน่วยกิต
รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
      GED1001 สารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า (Information Study Skill) 3(3-0-6)
      GED1002 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (Thai for Communication) 3(3-0-6)
      GED1003 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน (English Basics) 3(3-0-6)
      GED1004 ภาษาอังกฤษเพื่อการประยุกต์ใช้  (English for Application) 3(3-0-6)

1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

6 หน่วยกิต
      กำหนดให้เลือกเรียนอย่างน้อย 6 หน่วยกิต โดยให้เลือกเรียนรายวิชาพุทธทาสศึกษาหรือรายวิชาปรัชญากับชีวิต 1 รายวิชา และรายวิชาที่เหลืออีก 1 รายวิชา
รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
      GED2001 พุทธทาสศึกษา (Buddhadasa Studies) 3(3-0-6)
      GED2002 ปรัชญากับชีวิต (Philosophy and Life) 3(3-0-6)
      GED2003 การพัฒนาตน (Self Development) 3(3-0-6)
      GED2004 สุนทรียศาสตร์ (Aesthetics) 3(3-0-6)
1.3 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์
6 หน่วยกิต
      กำหนดให้เลือกเรียนอย่างน้อย 6 หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้
รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
      GED3001 วิถีโลก (Global Society and Living) 3(3-0-6)
      GED3002 วิถีไทย (Thai Living) 3(3-0-6)
      GED3003 กฎหมายกับสังคม (Law and Society) 3(3-0-6)
1.4 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
9 หน่วยกิต
      กำหนดให้เรียน 9 หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้
รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
      GED4001 วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต (Science for Quality of Life) 3(3-0-6)
      GED4002 การคิดและการตัดสินใจ (Thinking and Decision Making) 3(3-0-6)
      GED4003 คอมพิวเตอร์กับชีวิต (Computer and Life) 3(3-0-6)

 

2) หมวดวิชาเฉพาะด้านจำนวนไม่น้อยกว่า 129 หน่วยกิต  ประกอบด้วย

2.1 กลุ่มวิชาชีพครูบังคับ
กำหนดให้เรียน 31 หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้)
 31หน่วยกิต
รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
      EAD0401 ความเป็นครูและคุณธรรมจริยธรรม (Professional Teacher and Morality Ethics  ) 3(2-2-5)
      EAD0402 ปรัชญาและการศึกษา (Philosophy and Education) 3(2-2-5)
      ETH0401 ภาษาและวัฒนธรรมไทยสำหรับครู  (Thai Language and Thai Culture for Teachers) 2(1-2-3)
      EEN0401 ภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนาวิชาชีพครู (English for Teacher Professional Development) 2(1-2-3)
      EPY0401 จิตวิทยาแห่งความเป็นครู (Psychology of Teachers) 3(2-2-5)
      ECI0401 หลักสูตรและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน    (Curriculum  and  Basic  Education  Management) 3(2-2-5)
      ECI0402 การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน (Learning  Management  and  Classroom Management) 3(2-2-5)
      EMR0401 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ (Learning Measurement and Evaluation) 3(2-2-5)
      ETC0401 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา (Innovation and Information Technology in Education) 3(2-2-5)
      EMR0402 การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (Research for Learning Development) 3(2-2-5)
      EAD0403 การประกันคุณภาพการศึกษา (Quality Assurance in Education) 3(2-2-5)
2.2 กลุ่มวิชาชีพครูเลือก
6 หน่วยกิต
      เลือกเรียนไม่น้อยกว่า 4 หน่วยกิต ดังนี้
รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
      EPY0501 การศึกษาแบบเรียนรวม (Inclusive Study) 2(1-2-3)
      EPY0502 การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (Learner Development Activities)  2(1-2-3)
      ECI0501 การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น (Local Curriculum Development)  2(1-2-3)
      EAD0501 การวางแผนและการบริหารโครงการการพัฒนาการศึกษา (Planning  and  Educational  Project  Management)  2(1-2-3)
      ETC0501 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน (Instructional Media Design)  2(1-2-3)
      EMR0501  โปรแกรมประยุกต์ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ (Application Programs for Learning Measurement and Evaluation)  2(1-2-3)
     EMR0502 โปรแกรมประยุกต์ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (Application Programs for Research for Learning Development)  2(1-2-3)
2.3 กลุ่มวิชาปฏิบัติและฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
16 หน่วยกิต
      กำหนดให้เลือกเรียนอย่างน้อย 16 หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้
รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
     ECI0601 การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน 1 (Teaching Profession Experience 1) 2(90)
     ECI0602 การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน 2 (Teaching Profession Experience 2) 2(90)
     ECI0603 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 (Internship in Education 1) 6(450)
     ECI0604 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 (Internship in Education 2) 6(450)
2.4 กลุ่มวิชาเอกบังคับ
68 หน่วยกิต
      กำหนดให้เรียน 68 หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้
รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
     ETH0101 หลักภาษาไทย 1(Thai Grammar 1) 3(3-0-6)
     ETH0102 พัฒนาการของวรรณกรรมไทย (Development of Thai Literature) 3(3-0-6)
     ETH0103 การอ่านตีความ (Reading for Interpretation) 3(3-0-6)
     ETH0104 ภาษาศาสตร์ (Linguistics for Thai Language ) 3(3-0-6)
     ETH0105 หลักภาษาไทย 2 (Thai Grammar 2) 3(3-0-6)
     ETH0106 วาทการ  (Speech) 3(2-2-5)
     ETH0107 การใช้สื่อการสอนภาษาไทยด้วยเทคโนโลยี (Using the medium of instruction in Thai Language with technology) 3(2-2-5)
     ETH0108 วรรณกรรมไทย (Thai Literature ) 3(3-0-6)
     ETH0109 การเขียนร้อยกรอง (Thai Poetry Writing) 3(2-2-5)
     ETH0110 การเขียนร้อยแก้ว (The Art of Writing) 3(2-2-5)
     ETH0111 การเขียนภาคนิพนธ์ (Term paper Writing) 3(2-2-5)
     ETH0112 ศิลปะการอ่านออกเสียง (The Art of Reading) 3(2-2-5)
     ETH0113 วรรณกรรมวิจารณ์ (Literacy Criticism) 3(2-2-5)
     ETH0114 คติชนวิทยา (Thai Folklore) 3(2-2-5)
     ETH0115 พัฒนาการของภาษาไทย   (Development of Thai Language) 3(3-0-6)
     ETH0116 การสร้างบทเรียนภาษาไทย (Development of Thai Language Lessons) 3(2-2-5)
     ETH0117 ภาษากับวัฒนธรรม (Language and Culture) 3(3-0-6)
     ETH0118 การจัดทำหนังสือสำหรับเด็ก (Writing Children Book ) 3(2-2-5)
     ETH0119 คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย (Loan words in Thai) 3(3-0-6)
     ETH0120 วรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ (Thai south Literature) 3(2-2-5)
     ETH0121 การเขียนงานธุรการสำหรับครู (Office Document Writing for Teacher) 3(2-2-5)
     ETH0122 สัมมนาการเรียนการสอนภาษาไทย (Seminar in Thai Language) 3(2-2-5)
     ETH0123 การวิจัยทางภาษาไทย (Research on Thai Language) 3(2-2-5)
2.5 กลุ่มวิชาการสอนวิชาเอก
6 หน่วยกิต
เลือกเรียนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้
รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
     ETH0201 เทคนิคการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย (Thai Language Learning) 3(2-2-5)
     ETH0202 ทักษะการจัดการเรียนรู้สาขาวิชาภาษาไทย (Learning Management Skills for Thai Program) 4(2-4-6)
2.6 กลุ่มวิชาเอกเลือก
4หน่วยกิต
เลือกเรียนไม่น้อยกว่า 4 หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้
รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
     ETH0301 วรรณคดีการละคร (Thai Dramatic Literature) 3(2-2-5)
     ETH0302 ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ (Thai Language for Foreigners) 2(1-2-3)
     ETH0303 อิทธิพลของวรรณกรรมต่างประเทศต่อวรรณกรรมไทย (Influence of Foreign Literature in Thai Literature) 2(2-0-4)
     ETH0304 ภาษาไทยถิ่นใต้ (Southern Thai Dialectology) 3(3-0-6)
     ETH0305 คีตวรรณกรรมประกอบบทเรียน (Thai Music Literature for Lessons) 2(1-2-3)
     ETH0306 วรรณกรรมปัจจุบัน (Contemporary Literature) 3(3-0-6)
     ETH0307 สำนวนไทย (Thai Idiom) 2(2-0-4)
     ETH0308 วรรณกรรมอาเซียน (ASEAN Literary Works) 3(3-0-6)
     ETH0309 ภาษาบาลีและสันสกฤตในภาษาไทย (Pali and Sansakrit in Thai) 2(2-0-4)

3) หมวดวิชาเลือกเสรี เลือกเรียนไม่น้อยกว่า 6 หน่วย

ให้เลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี หรือรายวิชาจากหลักสูตรของมหาวิทยาลัยอื่น โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์การสำเร็จหลักสูตร